จำนวนการดูหน้าเว็บรวม

วันจันทร์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2555

program plc (เบื้องต้น)

                               

                                PROGRAM P L C LADDER เบื้องต้น

   การทำงานของเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรมปัจุบันนี้ได้มีการใช้ program P L C ในการควบคุมการ
ทำงานของเครื่องจักรกันอย่างแพร่หลายทั้งนี้เพราะ program P L C มีความสามารถ control เครื่องจักรใน
งานอัตโนมัตได้เป็นอย่างดีและสามารถปรับเปลี่ยน step ขั้นตอนการทำงานได้ง่ายและรวดเร็วและ program
P L C จะเป็นปัจัยหลักในการทำงานในอุตสาหกรรมในอนาคต ดังนั้นบุคคลใดที่เกียวข้องกับสายงานช่าง
technician ทั้ง mechanic และ ช่างไฟฟ้า หรือนักศึกษาในสายช่างควรจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเรียนรู้สามารถ
ใช้งาน program p l c ค้นหาปัญหาของเครืองจักรและสามารถแก้ไขปรับเปลี่ยน step การทำงานของเครื่องจักรโดยการแก้ PROGRAM ได้ทั้งนี้ใครที่มีทักษะทาง P L C จะได้เปรียบในการสมัครงานแข่งขันกับผู้อื่นใน
สายงานเดียวกันและเมื่อทำงานจะเรียนรู้ P L C ในโรงงานได้เร็วและโอกาศก้าวและประสบความสำเร็จก็จะมี
มากกว่าคนอื่น


        Program P L C  Ladder1


ในหัวข้อนี้จะเริ่มต้นด้วยสัญลักษ์ contract NO,contract NC ,และ Coil


                                                     รูป 1.1
  TOPICS* จากรูป 1.1
                 
                                X0     คือสัญลักษ์ contract NO
                                X1     คือสัญลักษ์ contract NC
                                Y10   คือสัญลักษ์ coil
                                           



                                                                    วงจร   1

 จากภาพวงจร 1.1 เราจะเรียนรู้เกี่ยวกับการทำงานจากคำสั่ง contract และ coil การทำงานของวงจรนี้
เริ่มจาก contract NO ,X131 ON คือสัญญาณ input เช่น photo sensor ,proximity ,หรือสัญญาณ input
อื่นเมื่อ X131 ON จะต่อวงจรให้ coil M209 ทำงานซึ่ง M209 เป็น coil ช่วยใน P L C และเมื่อ M209 ON
จะทำให้ contract NO  M209 ,ON และ contract M209 จะทำหน้าที่ต่อวงจร ให้ coil Y100 (Y100 คืออุปกรณ์ out put เช่น Motor , valve ตัดต่อลม และอื่นๆ) เมื่อ Y100 ทำงานก็จะทำให้ motor หรือ valve ตัดต่อลม ทำงานนั่นเอง
    T16 คือ timer ทำงานพร้อมกันกับ M209 ,T16 จะนับถึง K500  ก็จะทำให้ contract NC T16 ,OFF
และเมื่อ contract NC T16 ,Off  ก็จะทำหน้าที่ตัดวงจร M209 ให้ Off ด้วยเช่นกันและจะทำให้ Y100 ,Off
เหมือนกัน หมายความว่าวงจรนี้ motor Y100 จะหมุนถึง K500 ก็จะหยุดหมุนหรือ motor หมุนแค่ 50 วินาทีก็จะหยุดหมุนจนกว่า X131 จะ ON อีกครั้งจึงจะเริ่มวงจรใหม่
    contract NO ของ M209 คือ inter lock ของ coil M209 จะทำหน้าที่ lock ให้ coil M209 ทำงานค้างตลอดในวงจรนี้ถ้าไม่มี T16 ตัดวงจร M209 จะทำให้ coil M209  on ตลอดจะส่งผลให้ Y100 ทำงานตลอดเช่นกันและจะทำให้ตัวออุปกรณ์ทำงานตลอดหรือ motor หมุนตลอดเวลา









ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น